การค้นพบพระกำแพงซุ้มกอ
เมื่อ พ.ศ.2392 เจ้าประคุณสมเด็จพุฒาจารย์โตแห่งวัดระฆัง ได้ไปเยี่ยมญาติที่เมืองกำแพงเพชร ได้พบศิลาจากรึกที่วัดเสด็จ จึงทราบว่ามีพระเจดีย์ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำปิง ฝั่งเมืองนครชุมเก่า ท่านจึงได้ดำหริให้เจ้าเมืองออกสำรวจแล้วก็พบเจดีย์ อยู่ 3 องค์ อยู่ใกล้ๆกัน แต่ชำรุดมาก จึงได้ชักชวนให้เจ้าเมืองทำการรื้อพระเจดีย์เก่าทั้ง 3 องค์ รวมเป็นองค์เดียวกัน แต่เมื่อรื้อถอนแล้วจึงได้พบพระเครื่องสกุลกำแพงเพชรเป็นจำนวนมาก ทั้งที่ยังอยู่ในสภาพที่สมบูรณ์และแตกหักตามสภาพกาลเวลา ท่านเจ้าประคุณสมเด็จพุฒาจารย์โตท่านเห็นว่าเศษพระที่แตกหักนั้นยังมีพุทธคุณอยู่ท่า นจึงได้นำกลับมายังวัดระฆังจำนวนหนึ่งพร้อมกับเศษอิฐและเศษหิน และบันทึกใบลานเก่าแก่ที่ได้บันทึกเกี่ยวกับวิธีการสร้างพระสกุลกำแพงเพชร
ดังนั้นท่านเจ้าประคุณสมเด็จพุฒาจารย์โตจึงได้นำเอาเศษพระกำแพงที่แตกหักมาบดเป็นส่ว นผสมในการสร้างพระสมเด็จของท่านจนขึ้นชื่อโด่งดังไปทั่วประเทศ เพราะท่านได้สร้างตามสูตรการสร้างพระซุ้มกอกำแพงเพชร ดังนั้นจะเห็นได้ว่าพระสมเด็จในยุคแรกๆจะมีลักษณะโค้งมนเหมือนกับพระซุ้มกอเพราะว่าพ ระซุ้มกอกำแพงเพชรเป็นต้นแบบของพระสมเด็จวัดระฆังนั่นเอง
จำนวนกรุต่างๆในจังหวัดกำแพงเพชร
มีทั้งหมดประมาณไม่ต่ำกว่า 50 กรุ โดยแบ่งเป็นกรุทุ่งเศรษฐี ทั้งหมด 9 กรุ ได้แก่
1. วัดพระบรมธาตุ
2. วัดหนองพิกุล (นิยมเรียกว่า วัดพิกุล)
3. วัดซุ้มกอ หรือ กรุนาตาคำ
4. วัดฤๅษี
5. วัดน้อย หรือ กรุซุ้มกอดำ
6. บ้านเศรษฐี
7. วัดเจดีย์กลางทุ่ง
8. วัดหัวยาง
9. วัดหนองลังกา
กรุเมืองประมาณไม่ต่ำกว่า 20 กรุ ส่วนฝั่งซ้ายซึ่งเป็นที่ตั้งของอำเภอเมือง และเป็นเขตอุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร รวมทั้งพระราชวังเก่าที่มีวัดพระแก้วอยู่ภายในด้วยรวมเรียกว่ากรุเมือง มีจำนวนประมาณ 20 กรุ ยกตัวอย่างในกรุเมืองที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันดี เช่น กรุวัดพระแก้ว, กรุวัดพระธาตุ, กรุวัดป่ามืด, กรุวัดช้างล้อม, กรุวัดนาคเจ็ดเศียร เป็นต้น
Cr. http://www.pharaohamulet.com
เมื่อ พ.ศ.2392 เจ้าประคุณสมเด็จพุฒาจารย์โตแห่งวัดระฆัง ได้ไปเยี่ยมญาติที่เมืองกำแพงเพชร ได้พบศิลาจากรึกที่วัดเสด็จ จึงทราบว่ามีพระเจดีย์ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำปิง ฝั่งเมืองนครชุมเก่า ท่านจึงได้ดำหริให้เจ้าเมืองออกสำรวจแล้วก็พบเจดีย์ อยู่ 3 องค์ อยู่ใกล้ๆกัน แต่ชำรุดมาก จึงได้ชักชวนให้เจ้าเมืองทำการรื้อพระเจดีย์เก่าทั้ง 3 องค์ รวมเป็นองค์เดียวกัน แต่เมื่อรื้อถอนแล้วจึงได้พบพระเครื่องสกุลกำแพงเพชรเป็นจำนวนมาก ทั้งที่ยังอยู่ในสภาพที่สมบูรณ์และแตกหักตามสภาพกาลเวลา ท่านเจ้าประคุณสมเด็จพุฒาจารย์โตท่านเห็นว่าเศษพระที่แตกหักนั้นยังมีพุทธคุณอยู่ท่า นจึงได้นำกลับมายังวัดระฆังจำนวนหนึ่งพร้อมกับเศษอิฐและเศษหิน และบันทึกใบลานเก่าแก่ที่ได้บันทึกเกี่ยวกับวิธีการสร้างพระสกุลกำแพงเพชร
ดังนั้นท่านเจ้าประคุณสมเด็จพุฒาจารย์โตจึงได้นำเอาเศษพระกำแพงที่แตกหักมาบดเป็นส่ว นผสมในการสร้างพระสมเด็จของท่านจนขึ้นชื่อโด่งดังไปทั่วประเทศ เพราะท่านได้สร้างตามสูตรการสร้างพระซุ้มกอกำแพงเพชร ดังนั้นจะเห็นได้ว่าพระสมเด็จในยุคแรกๆจะมีลักษณะโค้งมนเหมือนกับพระซุ้มกอเพราะว่าพ ระซุ้มกอกำแพงเพชรเป็นต้นแบบของพระสมเด็จวัดระฆังนั่นเอง
จำนวนกรุต่างๆในจังหวัดกำแพงเพชร
มีทั้งหมดประมาณไม่ต่ำกว่า 50 กรุ โดยแบ่งเป็นกรุทุ่งเศรษฐี ทั้งหมด 9 กรุ ได้แก่
1. วัดพระบรมธาตุ
2. วัดหนองพิกุล (นิยมเรียกว่า วัดพิกุล)
3. วัดซุ้มกอ หรือ กรุนาตาคำ
4. วัดฤๅษี
5. วัดน้อย หรือ กรุซุ้มกอดำ
6. บ้านเศรษฐี
7. วัดเจดีย์กลางทุ่ง
8. วัดหัวยาง
9. วัดหนองลังกา
กรุเมืองประมาณไม่ต่ำกว่า 20 กรุ ส่วนฝั่งซ้ายซึ่งเป็นที่ตั้งของอำเภอเมือง และเป็นเขตอุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร รวมทั้งพระราชวังเก่าที่มีวัดพระแก้วอยู่ภายในด้วยรวมเรียกว่ากรุเมือง มีจำนวนประมาณ 20 กรุ ยกตัวอย่างในกรุเมืองที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันดี เช่น กรุวัดพระแก้ว, กรุวัดพระธาตุ, กรุวัดป่ามืด, กรุวัดช้างล้อม, กรุวัดนาคเจ็ดเศียร เป็นต้น
พระซุ้มกอกำแพงเพชรกรุวัดฤๅษี
พระกำแพงซุ้มกอกรุวัดพิกุล
พระกำแพงซุ้มกอกรุวัดบรมธาตุ
พระกำแพงซุ้มกอ กรุวัดหนองพิกุล พิมพ์หน้ายักษ์
พระกำแพงซุ้มกอ กรุวัดหนองพิกุล พิมพ์หน้ายักษ์
พระกำแพงซุ้มกอดำ กรุวัดหนองพิกุล
พระกำแพงซุ้มกอดำ กรุวัดหนองลังกา
พระกำแพงซุ้มกอ กรุวัดเจดีย์กลางทุ่ง
พระกำแพงซุ้มกอดำ กรุวัดหนองพิกุล
พระกำแพงซุ้มกอพิมพ์เล็กเนื้อว่าน กรุวัดฤๅษี
Cr. http://www.pharaohamulet.com